ลักษณะงานโครงการ
โดยมากเป็นงานที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด
เป็นงานที่ทำครั้งเดียวแล้วเสร็จ
ไม่คุ้มค่าที่จะจัดตั้งเป็นแผนก
เป็นงานที่ไม่เหมือนงานอื่น ๆ มีข้อจำกัดด้านเวลา สถานที่และงบประมาณ
แผนโครงการที่ดีนั้นประกอบด้วย 4 ส่วนประกอบสำคัญ
ได้แก่
1. คำอธิบายที่เกี่ยวกับโครงการ (Statement of Work/SOW/Scope
Statement)
2. รายละเอียดและข้อกำหนดเกี่ยวกับโครงการ (Project
Specification)
3. กำหนดการของเป้าหมาย (Milestone Schedule)
4. แผนงานอย่างละเอียด (Work Breakdown Structure)
คำอธิบายที่เกี่ยวกับโครงการ (Statement of Work)
คือคำอธิบายแบบละเอียดของโครงการและงานที่ต้องทำในโครงการ
คำอธิบายที่เกี่ยวกับประกอบด้วย
วัตถุประสงค์ของโครงการ (Project Objective)
คำอธิบายโดยย่อของงานสำคัญและรายการของผลผลิต (List of
Deliverable)
ข้อจำกัดเกี่ยวกับงบประมาณ (ถ้ามี) (Budget Constraint)
และหมายกำหนดการโดยรวม (Overall Schedule)
ระหว่างการจัดทำคำอธิบายที่เกี่ยวกับโครงการ
ผู้จัดการโครงการควรทำให้มั่นใจในความครบถ้วนสมบูรณ์ของเนื้อหาโดยการจัดการทบทวนหลายๆครั้งกับผู้เชี่ยวชาญ (Functional
specialists) ที่เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบว่าข้อมูลทางเทคนิคและบริหารนั้นเพียงพอที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
หลังจากได้รับความคิดเห็นจากรอบด้านแล้ว
ผู้จัดการโครงการควรเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมตรวจสอบครั้งสุดท้ายกับผู้จัดการระดับสูง (senior management) ก่อนจะนำคำอธิบายที่เกี่ยวกับโครงการไปใช้ต่อในการวางแผนโครงการ
รายละเอียดและข้อกำหนดเกี่ยวกับโครงการ
(Project
Specification)
คือการกำหนดมาตรฐานและรายละเอียดของทุกอย่างที่จะใช้ใน Project และทุกอย่างที่เป็นสิ่งที่ได้ออกมาจาก Project หรือที่เราเรียกว่าWork Products หรือ Deliverable
ทำไม Project Specification ถึงสำคัญ? ก็เพราะ
เป็นหนึ่งใน Requirement ของ Project ที่เรารับผิดชอบซึ่งเป็นสิ่งที่ลูกค้าคาดหวังไว้ว่าจะได้รับเมื่อ Project จบ พูดคุยตกลงเรื่องนี้กันได้แต่เนิ่นๆก็จะลดโอกาสที่จะเกิดสิ่งไม่คาดคิด
(surprise) กับทั้งตัวลูกค้าและตัวเราเอง
ถูกใช้สำหรับการประเมินค่าใช้จ่ายและแรงงานที่ต้องใช้ครับ
ซึ่งการแก้ไขมาตรฐานเพียงเล็กน้อยอาจจะเป็นผลกระทบใหญ่ต่อค่าใช้จ่าย เช่น
ถ้าลูกค้าขอให้ระบบทำงานเร็วขึ้นซัก 1-2% เราอาจจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเป็นเงินนับล้านบาท
ดังนั้นเราจึงต้องตกลงเรื่องนี้กับลูกค้าให้เรียบร้อยก่อนตั้งแต่ตอนวางแผนโครงการเพื่อที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นภายหลัง
กำหนดการของเป้าหมาย (Milestone Schedule)
ประกอบด้วย
วันเริ่มต้นโครงการ (Project Start Date)
วันสิ้นสุดโครงการ (Project End Date)
กำหนดการของเป้าหมายสำคัญ (Major Milestones)
ผลผลิตหรือรายงาน (Deliverable or Reports)
วันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดโครงการ(ถ้าถูกกำหนดมาแล้ว)จำเป็นต้องถูกรวมเข้าไปในการวางแผนโครงการ
กำหนดการของเป้าหมายสำคัญก็ได้แก่ การประชุมเพื่อตรวจสอบวัตถุประสงค์ของโครงการ
วันที่ระบบตัวอย่างพร้อมส่งมอบ วันสั่งซื้อวัตถุดิบ วันเริ่มทดสอบระบบจริง
และอื่นๆก็ควรจะถูกระบุลงในแผนโครงการด้วยเช่นกัน
แผนงานอย่างละเอียด (Work Breakdown Structure)
คือตัวแทนซึ่งถูกจัดเรียงเป็นลำดับขั้นของงานที่ต้องทำในโครงการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ในการวางแผนโครงการผู้จัดการโครงการต้องวางโครงสร้างของงานเป็นส่วนเล็กๆเพื่อ
ลดความเกี่ยวข้องและขึ้นต่อกันระหว่างงานใหญ่ๆลง
ง่ายต่อการวัดผลและติดตามความก้าวหน้าของงาน
การออกแบบและเขียนแผนงานอย่างละเอียดต้องทำด้วยความรอบคอบ
แผนงานอย่างละเอียดที่ดีสามารถใช้ในการจัดเตรียมสิ่งต่างๆได้ดังนี้
ตารางความรับผิดชอบ (the responsibility matrix)
โครงข่ายของหมายกำหนดการ (network scheduling)
ค่าใช้จ่าย (costing)
การวิเคราะห์ความเสี่ยง (risk analysis)
โครงสร้างขององค์กรหรือบุคคลากร (organizational structures)
แผนการควบคุม (control)
คำจำกัดความของงานในลำดับล่างสุดควรประกอบด้วย
วัตถุประสงค์ (objective): สิ่งที่ต้องทำให้สำเร็จในงานนี้
(expected outcome)
ผลผลิตที่ต้องส่งมอบ (deliverable): เป็นสิ่งที่จับต้องหรือใช้งานได้
ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ รายงาน และอื่นๆ
กำหนดเวลา (schedule): งานทั้งหมดต้องมีวันเริ่มต้น
วันสิ้นสุด และวัน(เวลา)สำหรับรายงานความคืบหน้าของงาน (update date)
งบประมาณ (budget): งบประมาณที่ต้องใช้ในการทำงานแต่ละงาน
มาตรการวัดผล (performance measures): กำหนดมาตรการวัดผลความคืบหน้าของงานโดยการเปรียบเทียบผลงานจริง(actual) และความคาดหวัง (planned) ระหว่างดำเนินโครงการ
หน้าที่รับผิดชอบ (responsibility): ระบุผู้รับผิดชอบให้กับแต่ละงานในโครงการ
ถึงแม้ว่าจะมีหลายวิธีในการสร้างแผนงานอย่างละเอียด
แต่โดยปกติแล้วแผนงานอย่างละเอียดจะประกอบด้วยหกลำดับขั้นดังนี้
ถึงจะเห็นว่า
ประกอบด้วยข้อมูล 6 ระดับ แต่ก็ไม่จำเป็นว่าทุก Project ต้องมีครบทั้ง 6 ระดับ ถ้า Project ใหญ่ก็มีครบ แต่ถ้า Project เล็กอาจจะมีไม่ครบทั้ง 6 ระดับ
แต่ที่สำคัญคือสองระดับสุดท้ายคือ Work Package และ Level
of Effort คิดว่าจำเป็นต้องมีในทุก Project เพราะว่ามันเป็นส่วนย่อยที่ระบุถึงสิ่งที่ต้องทำและระยะเวลาที่ต้องใช้ในการทำงานนั้นๆซึ่งจำเป็นมาต่อ Project
Manager
โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกัน
ระหว่าง Project
Manager เป็นคนเก็บข้อมูล และจัดทำงานใน 3 ระดับบนสุดซึ่งได้แก่ Total Program, Projectและ Task หลังจากนั้น Line Manager จะรับช่วงต่อในการเพิ่มข้อมูล Sub-task,
Work Package และ Level of Effort ซึ่งจะทำให้โครงการทั้งหมดสมบูรณ์
ขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล โดย : พี่ tick siriphet ศิริเพชร สุนทรวิภาต
สำเนาใหม่โดยนายสุทธิกันต์ อุตสาห์
style='� '- i @�� �� ;font-family:"Angsana New","serif";mso-ascii-theme-font:
major-bidi;mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-hansi-theme-font:major-bidi;
mso-bidi-theme-font:major-bidi;color:#504945'> ลดความเกี่ยวข้องและขึ้นต่อกันระหว่างงานใหญ่ๆลง
ง่ายต่อการวัดผลและติดตามความก้าวหน้าของงาน
การออกแบบและเขียนแผนงานอย่างละเอียดต้องทำด้วยความรอบคอบ
แผนงานอย่างละเอียดที่ดีสามารถใช้ในการจัดเตรียมสิ่งต่างๆได้ดังนี้
ตารางความรับผิดชอบ (the responsibility matrix)
โครงข่ายของหมายกำหนดการ (network scheduling)
ค่าใช้จ่าย (costing)
การวิเคราะห์ความเสี่ยง (risk analysis)
โครงสร้างขององค์กรหรือบุคคลากร (organizational structures)
แผนการควบคุม (control)
คำจำกัดความของงานในลำดับล่างสุดควรประกอบด้วย
วัตถุประสงค์ (objective): สิ่งที่ต้องทำให้สำเร็จในงานนี้
(expected outcome)
ผลผลิตที่ต้องส่งมอบ (deliverable): เป็นสิ่งที่จับต้องหรือใช้งานได้
ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ รายงาน และอื่นๆ
กำหนดเวลา (schedule): งานทั้งหมดต้องมีวันเริ่มต้น
วันสิ้นสุด และวัน(เวลา)สำหรับรายงานความคืบหน้าของงาน (update date)
งบประมาณ (budget): งบประมาณที่ต้องใช้ในการทำงานแต่ละงาน
มาตรการวัดผล (performance measures): กำหนดมาตรการวัดผลความคืบหน้าของงานโดยการเปรียบเทียบผลงานจริง(actual) และความคาดหวัง (planned) ระหว่างดำเนินโครงการ
หน้าที่รับผิดชอบ (responsibility): ระบุผู้รับผิดชอบให้กับแต่ละงานในโครงการ
ถึงแม้ว่าจะมีหลายวิธีในการสร้างแผนงานอย่างละเอียด
แต่โดยปกติแล้วแผนงานอย่างละเอียดจะประกอบด้วยหกลำดับขั้นดังนี้
ถึงจะเห็นว่า
ประกอบด้วยข้อมูล 6 ระดับ แต่ก็ไม่จำเป็นว่าทุก Project ต้องมีครบทั้ง 6 ระดับ ถ้า Project ใหญ่ก็มีครบ แต่ถ้า Project เล็กอาจจะมีไม่ครบทั้ง 6 ระดับ
แต่ที่สำคัญคือสองระดับสุดท้ายคือ Work Package และ Level
of Effort คิดว่าจำเป็นต้องมีในทุก Project เพราะว่ามันเป็นส่วนย่อยที่ระบุถึงสิ่งที่ต้องทำและระยะเวลาที่ต้องใช้ในการทำงานนั้นๆซึ่งจำเป็นมาต่อ Project
Manager
โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกัน
ระหว่าง Project
Manager เป็นคนเก็บข้อมูล และจัดทำงานใน 3 ระดับบนสุดซึ่งได้แก่ Total Program, Projectและ Task หลังจากนั้น Line Manager จะรับช่วงต่อในการเพิ่มข้อมูล Sub-task,
Work Package และ Level of Effort ซึ่งจะทำให้โครงการทั้งหมดสมบูรณ์
ขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล โดย : พี่ tick siriphet ศิริเพชร สุนทรวิภาต
สำเนาใหม่โดยนายสุทธิกันต์ อุตสาห์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น